พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
๙๙๙ ลูกสะกด หลว...
๙๙๙ ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ๙๙๙
ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ขนาด 2 cm เนื้อชินผสมปรอท ..ในตำรับตำราเครื่องรางของขลังไทยเรานั้นจะมีด้วยกันหลายอย่าง ๆ ที่เป็นเครื่องคาดก็จะมีตะกรุด เป็นหลัก หากไม่ใช่มหาอุดแล้วละก้อ เมื่อร้อยเข้าพวงเพื่อคาดเอวแล้ว จะต้องหาอะไรมาบังคับเอาไว้ไม่ให้เคลื่อนที่ไปมาวิธีที่ง่ายที่สุดคือ ด้วยการแก้เชือกให้เป็นปมใหญ่พอที่จะทำให้ตะกรุดไม่เคลื่อนที่แต่ยังมีอีกวิธีหนึ่งก็คือ การทำลูกสะกด และเป็นอย่างไรนั้นผู้เขียนจะอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ทราบอย่างละเอียดเลยทีเดียวในเรื่องนี้ ก่อนอื่นจะต้องพูดถึงความแตกต่างกันระหว่างลูกสะกดกับลูกอมซึ่งเป็นเครื่องรางทั้งสองอย่างนี้และพอที่จะแยกกันได้คร่าว ๆ ดังนี้ ลูกอม + ส่วนลูกสะกด เป็นคำนามมีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานว่า ลูกประคำที่ใช้เป็นลูกคั่น มีสันฐานกลมเกลี้ยงและถ้าพูดถึงขนาดนั้นจะใหญ่กว่าหรือเท่ากับลูกอมแต่มีการเจาะรูตรงกลางเพื่อร้อยเชือกแล้วประกบหัวท้ายตระกรุดไม่ให้เคลื่อนที่หรือจะไม่เจาะรูก็ย่อมได้ไม่ผิดกติกาอันใด คราวนี้ผู้เขียนจะมาพูดถึงความหมายอีกอย่างหนึ่งของลูกสะกดตรงตัวที่คำว่า “สะกด” ซึ่งหมายถึงการข่มหรือทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้เคลิบเคลิ้มอยู่ภายใต้อำนาจส่วนคำว่า “ลูกสะกด” ในความหมายที่นี้หมายถึง ก้อนกรวดก้อนเล็ก ๆ ลูกอม ลูกกระสุนดินเผาหรือวัสดุอย่างอื่นที่นำมาเสกเป่าภาวนาด้วยคาถามหานิทรา แล้วขว้างข้ามหลังคาบ้านหลังคาค่าย ทำให้คนในบ้านในค่ายแม้แต่สัตว์ที่มีอยู่ในสถานที่นั้นจะหลับไหลไม่ได้สติจนกว่าดวงอาทิตย์จะขึ้นมาในตอนเช้า การสร้างลูกสะกดนั้น ไม่ใช่จะทำกันได้ง่าย ๆ ซึ่งจะต้องผ่ากรรมวิธีหลายขั้นตอน ในที่นี้จะกล่างถึงการทำลูกสะกดตะกั่วแบบง่าย ๆ ที่โบราณาจารย์ท่านนิยมกระทำกันมีหลักการดังต่อไปนี้ 1เอาตะกั่วนมมาหลอมจนละลาย แล้วเทลงไปบนถาดโลหะเพื่อให้แผ่เป็นแผ่นเมื่อโลหะเย็นลงแล้วก็แกะออกมา 2.เอาเหล็กจารมาลงอักขระหัวใจพระคาถาต่าง ๆ เรียกสูตรไปเขียนไปจนเต็มแผ่นหมดด้านหนึ่งแล้วพลิกอีกด้านหนึ่งมาจารจนเต็ม 3.เอาตะกั่วอันเดิมไปหลอมอีกแล้วเทลงในแบบพิมพ์เดิม เมื่อเย็นก็เอามาลงอักขระอีกครั้งหนึ่งแล้วก็หลอมอีก ทำอย่างนั้นไปเก้าครั้งเก้าหนจึงจะมาขั้นสุดท้ายกรรมวิธีนี้เรียกว่าลงถมหรือการจารอักขระทับถมไปบนแผ่นโลหะ //คาถาอาราธนาลูกสะกด อิติพันธะเกษามะอะอุ พันธะโลมาจะภะกะสะพันธะนักขามะนะนพะทะ พันธะทันตากระมะถะ พันธะตะ โจอิสวาสุ พันธะนังสังจิปีเสดิ พันธนะหะรูหะรูสุวิสังอะ พันธะอัฐิทุสะมะนิ พันธะอัตถิมินชังนะสังสิโม พันธะวักกังปะวะอะปะ ทิมะสังอังขุ นะมะอะอุ นะมามิหัง สิทธิเตชัง สิทธิวาจัง กายะพันธะนัง องคะพันนธะนัง สารพัดสิทธิ ภะวันตุเมฯ คาถานี้ให้ตั้งนะโมฯ 3 จบก่อนแล้วยกลูกสะกดขึ้นจดเหนือหน้าผาก จึงค่อยภาวนาพระคาถาให้จบบท สูดลมหายใจเข้าให้เต็มปอดแล้วผ่อนออก และเมื่อเวลาจะคาดเข้าเอวให้ภาวะนาพระคาถานี้จนกว่าจะผูกเงื่อนเสร็จให้ภาวนาดังนี้ “อิมังกะยะพันธะนังอธิษฐานมินะมะพะทะ” // ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม ถือว่าเป็นลูกสะกด ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก และหายากครับ
ผู้เข้าชม
6424 ครั้ง
ราคา
9
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
เป้พิมาย
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
0802188361
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 069-0-34788-5

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
แมวดำ99เปียโนPaphon07โชคเมืองนนท์เจริญสุขErawan
ยิ้มสยาม573เอก พานิชพระเครื่องปราสาทมรกตsomphopศิษย์หลวงปู่หมุนtermboon
JO RAYONG บ้านพระสมเด็จบ้านพระหลักร้อยเนินพระ99ยุ้ย พลานุภาพsakunchart
traveller277somemanภูมิ IRว.ศิลป์สยามจิ๊บพุทธะมงคลบี บุรีรัมย์
ponsrithong2กรัญระยองkaew กจ.hopperman2668Amuletวุฒิระนอง

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1398 คน

เพิ่มข้อมูล

๙๙๙ ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ๙๙๙




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
๙๙๙ ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ๙๙๙
รายละเอียด
ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ขนาด 2 cm เนื้อชินผสมปรอท ..ในตำรับตำราเครื่องรางของขลังไทยเรานั้นจะมีด้วยกันหลายอย่าง ๆ ที่เป็นเครื่องคาดก็จะมีตะกรุด เป็นหลัก หากไม่ใช่มหาอุดแล้วละก้อ เมื่อร้อยเข้าพวงเพื่อคาดเอวแล้ว จะต้องหาอะไรมาบังคับเอาไว้ไม่ให้เคลื่อนที่ไปมาวิธีที่ง่ายที่สุดคือ ด้วยการแก้เชือกให้เป็นปมใหญ่พอที่จะทำให้ตะกรุดไม่เคลื่อนที่แต่ยังมีอีกวิธีหนึ่งก็คือ การทำลูกสะกด และเป็นอย่างไรนั้นผู้เขียนจะอธิบายให้ท่านผู้อ่านได้ทราบอย่างละเอียดเลยทีเดียวในเรื่องนี้ ก่อนอื่นจะต้องพูดถึงความแตกต่างกันระหว่างลูกสะกดกับลูกอมซึ่งเป็นเครื่องรางทั้งสองอย่างนี้และพอที่จะแยกกันได้คร่าว ๆ ดังนี้ ลูกอม + ส่วนลูกสะกด เป็นคำนามมีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานว่า ลูกประคำที่ใช้เป็นลูกคั่น มีสันฐานกลมเกลี้ยงและถ้าพูดถึงขนาดนั้นจะใหญ่กว่าหรือเท่ากับลูกอมแต่มีการเจาะรูตรงกลางเพื่อร้อยเชือกแล้วประกบหัวท้ายตระกรุดไม่ให้เคลื่อนที่หรือจะไม่เจาะรูก็ย่อมได้ไม่ผิดกติกาอันใด คราวนี้ผู้เขียนจะมาพูดถึงความหมายอีกอย่างหนึ่งของลูกสะกดตรงตัวที่คำว่า “สะกด” ซึ่งหมายถึงการข่มหรือทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้เคลิบเคลิ้มอยู่ภายใต้อำนาจส่วนคำว่า “ลูกสะกด” ในความหมายที่นี้หมายถึง ก้อนกรวดก้อนเล็ก ๆ ลูกอม ลูกกระสุนดินเผาหรือวัสดุอย่างอื่นที่นำมาเสกเป่าภาวนาด้วยคาถามหานิทรา แล้วขว้างข้ามหลังคาบ้านหลังคาค่าย ทำให้คนในบ้านในค่ายแม้แต่สัตว์ที่มีอยู่ในสถานที่นั้นจะหลับไหลไม่ได้สติจนกว่าดวงอาทิตย์จะขึ้นมาในตอนเช้า การสร้างลูกสะกดนั้น ไม่ใช่จะทำกันได้ง่าย ๆ ซึ่งจะต้องผ่ากรรมวิธีหลายขั้นตอน ในที่นี้จะกล่างถึงการทำลูกสะกดตะกั่วแบบง่าย ๆ ที่โบราณาจารย์ท่านนิยมกระทำกันมีหลักการดังต่อไปนี้ 1เอาตะกั่วนมมาหลอมจนละลาย แล้วเทลงไปบนถาดโลหะเพื่อให้แผ่เป็นแผ่นเมื่อโลหะเย็นลงแล้วก็แกะออกมา 2.เอาเหล็กจารมาลงอักขระหัวใจพระคาถาต่าง ๆ เรียกสูตรไปเขียนไปจนเต็มแผ่นหมดด้านหนึ่งแล้วพลิกอีกด้านหนึ่งมาจารจนเต็ม 3.เอาตะกั่วอันเดิมไปหลอมอีกแล้วเทลงในแบบพิมพ์เดิม เมื่อเย็นก็เอามาลงอักขระอีกครั้งหนึ่งแล้วก็หลอมอีก ทำอย่างนั้นไปเก้าครั้งเก้าหนจึงจะมาขั้นสุดท้ายกรรมวิธีนี้เรียกว่าลงถมหรือการจารอักขระทับถมไปบนแผ่นโลหะ //คาถาอาราธนาลูกสะกด อิติพันธะเกษามะอะอุ พันธะโลมาจะภะกะสะพันธะนักขามะนะนพะทะ พันธะทันตากระมะถะ พันธะตะ โจอิสวาสุ พันธะนังสังจิปีเสดิ พันธนะหะรูหะรูสุวิสังอะ พันธะอัฐิทุสะมะนิ พันธะอัตถิมินชังนะสังสิโม พันธะวักกังปะวะอะปะ ทิมะสังอังขุ นะมะอะอุ นะมามิหัง สิทธิเตชัง สิทธิวาจัง กายะพันธะนัง องคะพันนธะนัง สารพัดสิทธิ ภะวันตุเมฯ คาถานี้ให้ตั้งนะโมฯ 3 จบก่อนแล้วยกลูกสะกดขึ้นจดเหนือหน้าผาก จึงค่อยภาวนาพระคาถาให้จบบท สูดลมหายใจเข้าให้เต็มปอดแล้วผ่อนออก และเมื่อเวลาจะคาดเข้าเอวให้ภาวะนาพระคาถานี้จนกว่าจะผูกเงื่อนเสร็จให้ภาวนาดังนี้ “อิมังกะยะพันธะนังอธิษฐานมินะมะพะทะ” // ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม ถือว่าเป็นลูกสะกด ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก และหายากครับ
ราคาปัจจุบัน
9
จำนวนผู้เข้าชม
7018 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
เป้พิมาย
URL
เบอร์โทรศัพท์
080-2188361
ID LINE
0802188361
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 069-0-34788-5




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี